สาระน่ารู้เกี่ยวกับการรับเหมาก่อสร้างโรงงาน

       สำหรับการรับเหมาก่อสร้างโรงงานนั้นได้รับความนิยมมากขึ้นในยุคปัจจุบัน เนื่องจากธุรกิจ SME หรือธุรกิจออนไลน์มีการเติบโตอย่างรวดเร็วส่งผลให้ผู้ประกอบการจำเป็นต้องก่อสร้างโรงงานเพิ่มเพื่อเพิ่มโอกาสในการขยายกำลังการผลิตให้กับสินค้าและบริการของตน ซึ่งถ้าหากมองเพียงผิวเผินก็จะคิดว่าการรับเหมาก่อสร้างโรงงานสามารถทำได้ง่ายไม่ยาก แต่แท้จริงแล้วการก่อสร้างโรงงานจำเป็นที่จะต้องขออนุญาตก่อนที่จะสร้างสามารถก่อสร้างโรงงานได้

 

รับเหมาก่อสร้างโรงงาน   รับเหมาก่อสร้างโรงงาน

 

 

หากจะจ้างผู้รับเหมาก่อสร้างโรงงานจำเป็นที่จะต้องคำนึงถึงประเภทของโรงงานตามกฎหมาย ดังนี้


• โรงงานประเภทที่1  คือ โรงงานที่มีเครื่องจักรไม่เกิน 20 แรงม้า และมีคนงานไม่เกิน 20 คน โรงงานประเภทนี้ สามารถดำเนินการได้เลยไม่ต้องขอใบอนุญาต
• โรงงานประเภทที่ 2 คือ โรงงานที่มีเครื่องจักรมากกว่า 50 แรงม้า แต่ไม่เกิน 75 แรงม้า (50-75 แรงม้า) และมีพนักงานมากกว่า 50 คนแต่ไม่เกิน 75 คน ไม่ต้องขอใบอนุญาตในการจัดตั้ง แต่จะต้องทำการแจ้งการความจำนนในการประกอบกิจการและชำระค่าธรรมเนียมรายปี
• โรงงานประเภทที่ 3 คือ โรงงานมีเครื่องจักรมากกว่า 75 แรงม้า และมีพนักงานในโรงงานมากกว่า 75 คน โรงงานประเภทนี้จะต้องทำการขอใบอนุญาตในการจัดตั้งโรงงาน (ใบร.ง.4) เนื่องจากถือว่าเป็นโรงงานที่อาจก่อให้เกิดมลภาวะ


       **** เงื่อนไขในการจัดตั้งโรงงาน หากเป็นโรงงานจำพวกที่ 3 (โรงงานที่มีเครื่องจักรขนาด 75 แรงม้าขึ้นไป และ มีพนักงานมากกว่า 75 คน) รวมทั้งโรงงานประเภทที่ 1 และ 2 ที่ถูกจัดรวมเป็นจำพวกที่ 3 เพราะกิจการอาจก่อให้เกิดมลพิษ จะต้องทำการขออนุญาตจัดตั้งโรงงาน และขอใบอนุญาตประกอบกิจการ นั่นก็คือใบ ร.ง.4 ****

 

เอกสารสำหรับการขออนุญาตประกอบกิจการโรงงาน ได้แก่


• คำขออนุญาตประกอบกิจการโรงงาน
• หนังสือรับรองการจดทะเบียนนิติบุคคล (สำหรับกรณีโรงงานที่จดเป็นนิติบุคคล และ คัดลอกสำเนาไม่เกิน 3 เดือน)
• สำเนาบัตรประจำตัวประชาชน และ สำเนาทะเบียนบ้าน / หนังสือเดินทางของผู้ที่จะลงนาม
• หนังสือมอบอำนาจ (กรณีที่ไม่ได้มาดำเนินการด้วยตัวเอง)
• เอกสารแสดงกรรมสิทธิ์ในที่ดินที่จัดตั้งโรงงาน (โฉนดที่ดิน)
• แบบแปลนแผนผังอาคารภายในโรงงาน (จะต้องผ่านการลงนามรับรองความปลอดภัยจากวิศวกร)
• แผนผังแสดงการติดตั้งเครื่องจักร (จะต้องผ่านการลงนามรับรองความปลอดภัยจากวิศวกร)
• สำเนาหนังสืออนุญาตก่อสร้าง
• ขั้นตอนการผลิตโดยละเอียด
• เอกสารเพิ่มเติมอื่นๆ ที่เจ้าหน้าที่กำหนด


       **เอกสารดังกล่าวเป็นเอกสารเบื้องต้นในการยื่นเพื่อขอใบอนุญาตจัดตั้งโรงงาน นอกจากเอกสารเบื้องต้นแล้วอาจจะมีเอกสารเพิ่มเติมขึ้นอยู่กับประเภทของโรงงาน**

 

ขั้นตอนการไปยื่นเอกสารกับกรมโรงงานอุตสาหกรรมตามจังหวัดที่โรงงานทำการจัดตั้ง ดังนี้


• ผู้ประกอบการทำการยื่นคำขอจัดตั้งโรงงาน (ร.ง.3) และ เอกสารสำหรับการขอใบอนุญาตให้เรียบร้อย
• เจ้าหน้าที่จะทำการตรวจสอบความถูกต้องของเอกสาร และ สถานที่จัดตั้งโรงงาน ตั้งแต่กระบวนการผลิต การป้องกัน และ การบำบัด
• เจ้าหน้าที่จะทำการแจ้งผลการพิจารณาให้ผู้ประกอบการทราบ


       ***หากได้รับอนุญาตให้จัดตั้งโรงงานได้จะต้องทำการชำระค่าธรรมเนียมใบอนุญาต และ จัดตั้งโรงงานภายในระยะเวลาที่ระบุเอาไว้ และ ในกรณีที่ไม่ได้รับอนุญาตให้จัดตั้งโรงงานสามารถทำการยื่นอุทธรณ์ต่อรัฐมนตรีกระทรวงอุตสาหกรรมได้ภายใน 30 วัน***

       ดังนั้นถ้าหากโรงงานเป็นประเภทที่3 แล้วทำการจัดตั้งโดยไม่ได้มีใบอนุญาตจะถือว่าโรงงานได้ฝ่าฝืนกฎหมาย พ.ร.บ โรงงาน มีโทษจำคุก 2 ปี หรือ ปรับไม่เกิน 200,000 บาท หรือ ทั้งจำทั้งปรับ หรือโรงงานของประเภทที่ 2 ต้องแจ้งความจำนนในการประกอบกิจการก่อนจัดตั้งโรงงาน หากฝ่าฝืนมีโทษจำคุกไม่เกิน 6 เดือน หรือ ปรับไม่เกิน 50,000 บาท หรือ ทั้งจำทั้งปรับ จะเห็นได้ว่าการขอใบอนุญาตจัดตั้งโรงงาน และ ประกอบกิจการมีความสำคัญอย่างมาก หากเป็นหนึ่งในผู้ประกอบการที่กำลังวางแผน หรือ คิดจะสร้างโรงงาน อย่าได้ละเลยกฎหมาย และ อย่าลืมที่จะขอใบอนุญาตก่อนจัดตั้งโรงงาน ไม่อย่างนั้นโรงงานคุณอาจจะเป็นโรงงานผิดกฎหมายได้ (ผิดกฎหมาย พ.ร.บ โรงงาน)

 


       บริษัท ช. มั่นคง บางบอน จำกัด ผู้เชี่ยวชาญด้านการผลิตโครงสร้างสำเร็จรูป และติดตั้งโครงสร้างคอนกรีตสำเร็จรูป โครงสร้างสําเร็จรูป precast ข้อได้เปรียบของการติดตั้งโครงสร้างสำเร็จรูป งบประมาณถูกกว่า สามารถติดตั้งเสร็จอย่างรวดเร็ว มีความมั่นคง แข็งแรง และปลอดภัย รับเหมาก่อสร้างโรงงาน ที่ผลิตและควบคุมคุณภาพจากโรงงานที่ได้มาตรฐาน ผ่าน QC. ทุกขั้นตอน เราพร้อมให้บริการรับเหมาก่อสร้างโรงงาน รับก่อสร้างอาคาร รับก่อสร้างอาคารพาณิชย์ โดยผู้เชี่ยวชาญและทีมงานมืออาชีพที่พร้อมให้บริการลูกค้าด้วยความจริงใจ
---------------------------------------------
บทความที่เกี่ยวข้อง
มาทำความรู้จัก บริษัท ช.มั่นคง บางบอน จำกัด
ข้อควรระวังงานก่อสร้างด้วยระบบพรีคาสท์คอนกรีต
5 ข้อที่เจ้าของโกดังต้องรู้ก่อนการเริ่มปลูกสร้าง 

สาระน่ารู้เกี่ยวกับการรับเหมาก่อสร้างโรงงาน

       สำหรับการรับเหมาก่อสร้างโรงงานนั้นได้รับความนิยมมากขึ้นในยุคปัจจุบัน เนื่องจากธุรกิจ SME หรือธุรกิจออนไลน์มีการเติบโตอย่างรวดเร็วส่งผลให้ผู้ประกอบการจำเป็นต้องก่อสร้างโรงงานเพิ่มเพื่อเพิ่มโอกาสในการขยายกำลังการผลิตให้กับสินค้าและบริการของตน ซึ่งถ้าหากมองเพียงผิวเผินก็จะคิดว่าการรับเหมาก่อสร้างโรงงานสามารถทำได้ง่ายไม่ยาก แต่แท้จริงแล้วการก่อสร้างโรงงานจำเป็นที่จะต้องขออนุญาตก่อนที่จะสร้างสามารถก่อสร้างโรงงานได้

 

รับเหมาก่อสร้างโรงงาน   รับเหมาก่อสร้างโรงงาน

 

 

หากจะจ้างผู้รับเหมาก่อสร้างโรงงานจำเป็นที่จะต้องคำนึงถึงประเภทของโรงงานตามกฎหมาย ดังนี้


• โรงงานประเภทที่1  คือ โรงงานที่มีเครื่องจักรไม่เกิน 20 แรงม้า และมีคนงานไม่เกิน 20 คน โรงงานประเภทนี้ สามารถดำเนินการได้เลยไม่ต้องขอใบอนุญาต
• โรงงานประเภทที่ 2 คือ โรงงานที่มีเครื่องจักรมากกว่า 50 แรงม้า แต่ไม่เกิน 75 แรงม้า (50-75 แรงม้า) และมีพนักงานมากกว่า 50 คนแต่ไม่เกิน 75 คน ไม่ต้องขอใบอนุญาตในการจัดตั้ง แต่จะต้องทำการแจ้งการความจำนนในการประกอบกิจการและชำระค่าธรรมเนียมรายปี
• โรงงานประเภทที่ 3 คือ โรงงานมีเครื่องจักรมากกว่า 75 แรงม้า และมีพนักงานในโรงงานมากกว่า 75 คน โรงงานประเภทนี้จะต้องทำการขอใบอนุญาตในการจัดตั้งโรงงาน (ใบร.ง.4) เนื่องจากถือว่าเป็นโรงงานที่อาจก่อให้เกิดมลภาวะ


       **** เงื่อนไขในการจัดตั้งโรงงาน หากเป็นโรงงานจำพวกที่ 3 (โรงงานที่มีเครื่องจักรขนาด 75 แรงม้าขึ้นไป และ มีพนักงานมากกว่า 75 คน) รวมทั้งโรงงานประเภทที่ 1 และ 2 ที่ถูกจัดรวมเป็นจำพวกที่ 3 เพราะกิจการอาจก่อให้เกิดมลพิษ จะต้องทำการขออนุญาตจัดตั้งโรงงาน และขอใบอนุญาตประกอบกิจการ นั่นก็คือใบ ร.ง.4 ****

 

เอกสารสำหรับการขออนุญาตประกอบกิจการโรงงาน ได้แก่


• คำขออนุญาตประกอบกิจการโรงงาน
• หนังสือรับรองการจดทะเบียนนิติบุคคล (สำหรับกรณีโรงงานที่จดเป็นนิติบุคคล และ คัดลอกสำเนาไม่เกิน 3 เดือน)
• สำเนาบัตรประจำตัวประชาชน และ สำเนาทะเบียนบ้าน / หนังสือเดินทางของผู้ที่จะลงนาม
• หนังสือมอบอำนาจ (กรณีที่ไม่ได้มาดำเนินการด้วยตัวเอง)
• เอกสารแสดงกรรมสิทธิ์ในที่ดินที่จัดตั้งโรงงาน (โฉนดที่ดิน)
• แบบแปลนแผนผังอาคารภายในโรงงาน (จะต้องผ่านการลงนามรับรองความปลอดภัยจากวิศวกร)
• แผนผังแสดงการติดตั้งเครื่องจักร เสาสำเร็จรูป (จะต้องผ่านการลงนามรับรองความปลอดภัยจากวิศวกร)
• สำเนาหนังสืออนุญาตก่อสร้าง
• ขั้นตอนการผลิตโดยละเอียด
• เอกสารเพิ่มเติมอื่นๆ ที่เจ้าหน้าที่กำหนด


       **เอกสารดังกล่าวเป็นเอกสารเบื้องต้นในการยื่นเพื่อขอใบอนุญาตจัดตั้งโรงงาน นอกจากเอกสารเบื้องต้นแล้วอาจจะมีเอกสารเพิ่มเติมขึ้นอยู่กับประเภทของโรงงาน**

 

ขั้นตอนการไปยื่นเอกสารกับกรมโรงงานอุตสาหกรรมตามจังหวัดที่โรงงานทำการจัดตั้ง ดังนี้


• ผู้ประกอบการทำการยื่นคำขอจัดตั้งโรงงาน (ร.ง.3) และ เอกสารสำหรับการขอใบอนุญาตให้เรียบร้อย
• เจ้าหน้าที่จะทำการตรวจสอบความถูกต้องของเอกสาร และ สถานที่จัดตั้งโรงงาน ตั้งแต่กระบวนการผลิต การป้องกัน และ การบำบัด
• เจ้าหน้าที่จะทำการแจ้งผลการพิจารณาให้ผู้ประกอบการทราบ


       ***หากได้รับอนุญาตให้จัดตั้งโรงงานได้จะต้องทำการชำระค่าธรรมเนียมใบอนุญาต และ จัดตั้งโรงงานภายในระยะเวลาที่ระบุเอาไว้ และ ในกรณีที่ไม่ได้รับอนุญาตให้จัดตั้งโรงงานสามารถทำการยื่นอุทธรณ์ต่อรัฐมนตรีกระทรวงอุตสาหกรรมได้ภายใน 30 วัน***

       ดังนั้นถ้าหากโรงงานเป็นประเภทที่3 แล้วทำการจัดตั้งโดยไม่ได้มีใบอนุญาตจะถือว่าโรงงานได้ฝ่าฝืนกฎหมาย พ.ร.บ โรงงาน มีโทษจำคุก 2 ปี หรือ ปรับไม่เกิน 200,000 บาท หรือ ทั้งจำทั้งปรับ หรือโรงงานของประเภทที่ 2 ต้องแจ้งความจำนนในการประกอบกิจการก่อนจัดตั้งโรงงาน หากฝ่าฝืนมีโทษจำคุกไม่เกิน 6 เดือน หรือ ปรับไม่เกิน 50,000 บาท หรือ ทั้งจำทั้งปรับ จะเห็นได้ว่าการขอใบอนุญาตจัดตั้งโรงงาน และ ประกอบกิจการมีความสำคัญอย่างมาก หากเป็นหนึ่งในผู้ประกอบการที่กำลังวางแผน หรือ คิดจะสร้างโรงงาน อย่าได้ละเลยกฎหมาย และ อย่าลืมที่จะขอใบอนุญาตก่อนจัดตั้งโรงงาน ไม่อย่างนั้นโรงงานคุณอาจจะเป็นโรงงานผิดกฎหมายได้ (ผิดกฎหมาย พ.ร.บ โรงงาน)

 


       บริษัท ช. มั่นคง บางบอน จำกัด ผู้เชี่ยวชาญด้านการผลิตโครงสร้างสำเร็จรูป และติดตั้งโครงสร้างคอนกรีตสำเร็จรูป โครงสร้างสําเร็จรูป precast ข้อได้เปรียบของการติดตั้งโครงสร้างสำเร็จรูป งบประมาณถูกกว่า สามารถติดตั้งเสร็จอย่างรวดเร็ว มีความมั่นคง แข็งแรง และปลอดภัย ที่ผลิตและควบคุมคุณภาพจากโรงงานที่ได้มาตรฐาน ผ่าน QC. ทุกขั้นตอน เราพร้อมให้บริการรับเหมาก่อสร้างโรงงาน รับก่อสร้างอาคาร รับก่อสร้างอาคารพาณิชย์ โดยผู้เชี่ยวชาญและทีมงานมืออาชีพที่พร้อมให้บริการลูกค้าด้วยความจริงใจ
---------------------------------------------
บทความที่เกี่ยวข้อง
มาทำความรู้จัก บริษัท ช.มั่นคง บางบอน จำกัด
ข้อควรระวังงานก่อสร้างด้วยระบบพรีคาสท์คอนกรีต
5 ข้อที่เจ้าของโกดังต้องรู้ก่อนการเริ่มปลูกสร้าง 

ใช้เครนอย่างปลอดภัย ด้วยใบรับรองตรวจสอบสภาพเครน

ใบตรวจสอบสภาพเครน มีความสำคัญอย่างไร 


         à¹ƒà¸šà¸£à¸±à¸šà¸•à¸£à¸§à¸ˆà¸ªà¸­à¸šà¸ªà¸ à¸²à¸žà¹€à¸„รน หรือ ใบรับรองรองตรวจสภาพปั้นจั่น (ปจ.1 ปจ.2) ถือเป็นหัวใจสำคัญของผู้ประกอบการงานด้านก่อสร้าง งานด้านสถาปัตยกรรม งานวิศวกรรม งานโลจิสติกส์ เนื่องจากกฎหมายกำหนดให้เครนหรือปั้นจั่นต้องได้รับการตรวจสอบสภาพโดยให้วิศวกรวิชาชีพเป็นผู้ดำเนินการ(วิศวกรเครื่องกล) ซึ่งต้องตรวจสอบทุก 3 เดือน 6 เดือน หรือทุก 1 ปี ตามขนาดตันที่กฎหมายกำหนด เพื่อความปลอดภัยในการใช้งาน

 

 

 

ใบรับรองตรวจสอบสภาพเครน มี 2 ประเภท ดังนี้

 

1. ใบรับตรวจสอบสภาพเครน ปจ.1


     à¹€à¸›à¹‡à¸™à¹ƒà¸šà¸£à¸±à¸šà¸£à¸­à¸‡à¸›à¸±à¹‰à¸™à¸ˆà¸±à¹ˆà¸™à¸Šà¸™à¸´à¸”อยู่กับที่ ต้องใช้อุปกรณ์ในการควบคุม ซึ่งติดตั้งอยู่บนหอสูง ขาตั้ง หรือบนล้อเลื่อน ได้แก่

 

     - เครนแบบมีขา (Gantry Crane)


           à¹€à¸›à¹‡à¸™à¹€à¸„รนที่สามารถเคลื่อนที่ได้ 6 ทิศทางแต่จะมีขาสำหรับวิ่งบนพื้น เหมาะสำหรับใช้งานภาคสนาม หรือ งานกลางแจ้งที่ไม่มีโครงสร้างของตัวอาคาร

 

     - เครนเหนือศรีษะ (Overhead Crane)


           à¹€à¸›à¹‡à¸™à¹€à¸„รนอุตสาหกรรมที่สามารถปรับการทำงานได้ตามต้องการ เหมาะสำหรับใช้กับพื้นที่ภายในโรงงาน เครนเหนือศีรษะ ใช้เคลื่อนย้ายสินค้าสามารถเคลื่อนที่ได้ 6 ทิศทาง คือ ขึ้น-ลง, ซ้าย-ขวา, หน้า-หลัง, มีทั้งแบบคานคู่ และคานเดี่ยวขึ้นอยู่กับขนาดน้ำหนักที่ต้องการจะยก (Capacity) และความกว้างของคานเครน (Span) - รอกโซ่ไฟฟ้า (Electric chain Hoist) ใช้ในการชักรอก สามารถควบคุมใช้งานได้ง่าย มีน้ำหนักเบา สะดวกในการเคลื่อนย้าย รอกไฟฟ้าเหมาะกับการใช้งานในระหว่างก่อสร้าง โดยรอกไฟฟ้าจะขับเคลื่อนไปตามรางวิ่งของเครน สะดวกต่อการบำรุงรักษาที่ง่าย และมีความปลอดภัยจากการใช้งาน

 

     - จิ๊บเครน (Jib crane)


           à¹€à¸›à¹‡à¸™à¹€à¸„รนที่ใช้สำหรับยกวัตถุงานหรือสินค้าแบบเฉพาะที่ รอบวงรัศมีมีความยาวของวงแขนที่ยื่นหมุนของชุดเครน ซึ่งระยะรัศมีของวงแขนเพื่อให้เครนหมุนสามารถใช้งานได้ตามองศาที่ต้องการ ส่วนใหญ่นิยมใช้กันอยู่ที่ 180, 270, 360 องศา และการติดตั้งฐานควรหล่อเป็นแบบฐานคอนกรีตใต้พื้น ผูกเหล็กโครงสร้าง และใช้ J-Bolt ผูกฝังยึดโผล่ขึ้นมาตามรูแบบแผ่นเหล็กฐานเสา ซึ่งจะมีความเหมาะสมถูกต้องและปลอดภัย

 

2. ใบรับตรวจสอบสภาพเครน ปจ.2


     à¹€à¸›à¹‡à¸™à¹ƒà¸šà¸£à¸±à¸šà¸£à¸­à¸‡à¸›à¸±à¹‰à¸™à¸ˆà¸±à¹ˆà¸™à¸Šà¸™à¸´à¸”ที่สามารถเคลื่อนที่ได้ ซึ่งจะติดอยู่บนยานพาหนะที่สามารถขับเคลื่อนได้ ได้แก่

 

     - รถเฮี๊ยบ (Hiab)


           à¸£à¸–เฮี๊ยบ คือ รถบรรทุกติดเครน โดยการนำรถบรรทุก 6 ล้อ หรือ 10 ล้อ ไปติดเครื่องทุ่นแรง(เครน) ซึ่งรถเฮี๊ยบมีหน้าที่ไว้ขนของขนาดใหญ่หรือของที่มีน้ำหนักมาก

 

     - รถเครนตีนตะขาบ (Crawler Crane)


           à¸£à¸–เครนที่มีการเคลื่อนที่ด้วยตีนตะขาบ และส่วนใหญ่มีบูมเป็นแบบบูมสาน เหมาะกับไซด์งานที่บุกเบิกใหม่พื้นที่ยังไม่ถูกบดอัด ติดหล่มยากแต่ไม่แนะนำให้ใช้งานแบบวิ่งต่อเนื่องเป็นระยะทางคราวละหลายร้อยเมตร เพราะจะทำให้ชุดกลไกของล้อสึกเร็ว มีขนาดตั้งแต่ 50 ตัน ไปจนถึง 100 ตัน

 

     - รถเครน 4 ล้อ (Rough Terrain Cranes)


           à¸£à¸–เครนที่ออกแบบมาเพื่อใช้งานในพื้นที่ที่ขรุขระ ขับเคลื่อน 2 ล้อ หรือ 4 ล้อ ไม่เหมาะกับงานที่วิ่งไกลๆ ทำงานในพื้นที่บุกเบิกใหม่ได้หากติดหล่มมีชุดกว้านช่วยเหลือตัวเองได้ แต่ไม่สมบุกสมบันเหมือนเครนตีนตะขาบ  

 

 

 

ขั้นตอนการตรวจ ปจ.1 ดังนี้


- ตรวจสอบสภาพโครงสร้างปั้นจั่น
- ตรวจสอบติดตั้งฐานปั้นจั่นมั่นคงหรือไม่
- ตรวจสอบระบบต้นกำลัง
- ตรวจสอบครอบปิดหรือครอบกั้น ที่หมุนเคลื่อนไหว เป็นอันตรายหรือไม่
- ตรวจสอบระบบควบคุมการทำของปั้นจั่น
- ตรวจสอบสภาพของลวดสลิงหรือโซ่มีตรงไหนชำรุดหรือไม่
- ตรวจสอบสัญญาณเสียงแจ้งเตือน à¸£à¸§à¸¡à¸–ึงสัญญาณไฟด้วย ระบบเสียงต้องได้ยินชัดเจน
- ตรวจสอบป้ายบอกพิกัดน้ำหนัก ว่าคำนวนถูกหรือไม่
- ทดสอบการรับน้ำหนักปั้นจั่น

 

ขั้นตอนการตรวจ ปจ.2 ดังนี้


- ตรวจสอบสภาพโครงสร้างหลักของปั้นจั่น เช่น รอยเชื่อม น็อต มีการคลายตัวหรือไม่
- ตรวจสอบกำลังปั้นจั่น ระบบต่าง ๆ เช่น ระบบควบคุมไฟฟ้า ระบบมอเตอร์ à¸£à¸°à¸šà¸šà¹€à¸Šà¸·à¹‰à¸­à¹€à¸žà¸¥à¸´à¸‡ ฯลฯ
- ตรวจสอบการเคลื่อนที่ของปั้นจั่น และการทำงานของชุดควบคุมพิกัด
- ตรวจสอบสัญญาณเสียงแจ้งเตือนต่าง ๆ ติดตั้งเครนออกแบบพิเศษ รวมถึงสัญญาณไฟด้วย ระบบเสียงต้องได้ยินชัดเจน
- ตรวจสอบม้วนรอก สลิงเครน ตรวจสอบเส้นผ่าศูนย์กลางสลิงโซ่ à¸¡à¸µà¸•à¸£à¸‡à¹„หนชำรุดหรือไม่
- ทดสอบพิกัดการยกโดยใช้น้ำหนักจริง เพื่อทดสอบการยกอย่างปลอดภัย


           à¸‹à¸¶à¹ˆà¸‡à¸à¸²à¸£à¸•à¸£à¸§à¸ˆ ปจ.1 หรือ ปจ.2 มีขั้นตอนตรวจสอบที่คล้ายกัน ดังนั้นการตรวจสอบต้องใช้ผู้เชี่ยวชาญหรือทีมวิศวกรวิชาชีพเท่านั้น และอุปกรณ์ที่ใช้ในการตรวจสอบหรือทดสอบต้องมีคุณภาพได้มาตรฐาน ผ่านการรับรองการสอบเทียบจาก มอก. เพื่อความความปลอดภัยต่อผู้ใช้งานปั้นจั่นและบุคคลในบริเวณรอบ ๆ

 

 

สามารถชมสินค้าและบริการอื่นๆเพิ่มเติมได้ที่ >>> https://www.industryhoist-crane.com/Products

 

 

            à¸šà¸£à¸´à¸©à¸±à¸— เอ บราเดอร์ จำกัด à¸£à¸±à¸šà¸•à¸´à¸”ตั้งและจำหน่ายระบบอุปกรณ์เครนยกของ รอกไฟฟ้า ติดตั้งรอกไฟฟ้า เครนอุตสาหกรรม ติดตั้งเครนมาตรฐาน และจัดจำหน่ายอุปกรณ์ประกอบระบบเครนเพื่อรองรับความต้องการใช้งานที่หลากหลายของลูกค้าตั้งแต่ SME จนถึงบริษัทขนาดใหญ่ ได้รับการยอมรับอย่างกว้างขวางด้วยทีมงานคุณภาพมากประสบการณ์ยาวนานเกือบ 30 ปี บริษัทเน้นในด้านคุณภาพบริการเป็นหลัก ส่งมอบสินค้า รวดเร็ว มีคุณภาพตรงตามมาตรฐาน à¸«à¸²à¸à¸•à¹‰à¸­à¸‡à¸à¸²à¸£à¸•à¸£à¸§à¸ˆà¸ªà¸­à¸šà¸ªà¸ à¸²à¸žà¹€à¸„รน ก่อนที่จะนำไปใช้งาน ทางบริษัทมีบริการดูแลบำรุงรักษา 1 ปี โดยเข้าดูแลตรวจสอบสภาพทุก 3 เดือน (ทั้งหมด 4 ครั้ง) พร้อมออกใบรับรองตรวจสภาพเครน ปจ.1 ด้วยวิศวกรมืออาชีพ สินค้าคุณภาพดี ติดตั้งรวดเร็ว ปลอดภัย

 

------------------------------------------------------------------------------------------

 

บทความที่เกี่ยวข้อง
แนะนำวิธีการตรวจสอบเครนอุตสาหกรรม
การใช้งานของเครนเหนือศีรษะ (Overhead Crane)
มาทำความรู้จักกับเครนสำหรับอุตสาหกรรม  

 

____________________________________________________

 

สนใจชมข้อมูลเพิ่มเติมผ่าน Marketplace

 

www.brandexdirectory.com
เว็บไซต์รวมสินค้าอุตสาหกรรมอันดับต้นๆ ของประเทศไทย

 

www.pagesthai.com
เว็บไซต์รวมรายชื่อโรงงานผลิต ซับคอนแทรค และบริการ

 

www.Brand.co.th
เว็บรวมสินค้าแบรนด์และผู้ผลิตสินค้าแบรนด์

 

www.eeczone.com
เว็บรวมรายชื่อผู้ประกอบการภาคตะวันออก


 

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15